24 ตุลาคม 2566

แนะยุทธศาสตร์เกษตรไทยวางระบบโครงสร้างพื้นฐาน “ดิน-น้ำ-เทคโนโลยี” ชูการจัดการข้อมูลแบบบูรณาการ ปรับเปลี่ยนวิถีการทำเกษตรกร เพื่อรับมือเอลนีโญและกระแสโลกสีเขียว

24 ตุลาคม 2566 (กรุงเทพฯ,ประเทศไทย) - ‘เอลนีโญ’ เป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งในปีนี้ ที่นักวิชาการคาดว่าจะส่งผลกระทบในวงกว้าง เพราะทำให้ฝนแล้งในฤดูฝนและฝนตกใต้เขื่อน ปริมาณน้ำที่กักเก็บได้อาจจะไม่เพียงพอต่อการทำการเกษตรตามรอบปกติของการเพาะปลูกที่ทำอยู่ นั่นคือปัญหาที่ต้องรับมือว่าจะทำอย่างไร ทั้งนี้ยังไม่นับรวมปัญหาอื่นๆ (เดิมๆ) ที่การพัฒนาประสิทธิภาพยกระดับอุตสาหกรรมการเกษตรไทยยังทำได้น้อยมาก

‘ไทยพับลิก้า’ ได้พูดคุยกับ ดร.รัสรินทร์ ชินโชติธีรนันท์ ประธานกรรมการบริหาร ListenField Thailand ที่เคยกล่าวถึงการสร้างภูมิคุ้มอนาคตเกษตรกรไทยต้อง paradigm shift ทุกมิติ เปลี่ยนจากเกษตรดั้งเดิม ลดใช้สารเคมีเป็นการทำเกษตรแบบ regenerative farming ใช้เทคโนโลยีและข้อมูลบริหารจัดการฟาร์ม ขณะที่รัฐบาลต้องเลิกเยียวยา แต่ลงทุนด้านเทคโนโลยีมากขึ้น หมดยุคเกษตรแบบเดิมแล้ว

อ่านบทความเต็มได้ที่นี่:

https://thaipublica.org/2023/10/super-el-nino-how-will-we-survive06/?fbclid=IwAR0-aQG_EamtFmamQ1rw1kLULHP_7nxDH-Y4y3pO5_L62fs3qEczJENBxMI

ดร.รัสรินทร์ ชินโชติธีรนันท์ ประธานกรรมการบริหาร ListenField Thailand

กระทู้ที่คล้ายกัน

24 ตุลาคม 2566
แนะยุทธศาสตร์เกษตรไทยวางระบบโครงสร้างพื้นฐาน “ดิน-น้ำ-เทคโนโลยี” ชูการจัดการข้อมูลแบบบูรณาการ ปรับเปลี่ยนวิถีการทำเกษตรกร เพื่อรับมือเอลนีโญและกระแสโลกสีเขียว
5 นาที

มาดูกันว่าลิสเซินฟิลด์สามารถปรับปรุงการทำงานและเพิ่มกำไรให้คุณได้อย่างไร

ติดต่อเรา